ฟรี ร้านค้า ออนไลน์ ads 3.142.96.146 : 26-04-24 16:27:48   
สมัครสมาชิกใช้งานติดต่อโฆษณาสินค้าแยกตามหมวดร้านค้าสมาชิกกระดานสนทนากระดานสนทนา
เทพประทานพร

  หมวดสินค้าของเรา            
  
 
วัตถุมงคล
พระ

Tag / คำค้น

  แสดงสินค้าทั้งหมด
มีอะไรอยู่ในตะกร้าบ้างแล้ว คลิ๊กเลย!!!


พระพิฆเนศ 4 กร สีนาค นั่งบนบัลลังก์บัว
ร้าน : เทพประทานพร 

พระพิฆเนศ 4 กร สีนาค นั่งบนบัลลังก์บัว-พระพิฆเนศ 4 กร สีนาค นั่งบนบัลลังก์บัว

ร้าน : เทพประทานพร


สินค้า

พระพิฆเนศ 4 กร สีนาค นั่งบนบัลลังก์บัว

หมวด ของเก่า ของสะสม เครื่องลาง > พระ
รหัสสินค้า 00008 vote เพิ่มคะแนน ให้กับสินค้า พระพิฆเนศ 4 กร สีนาค นั่งบนบัลลังก์บัว พระพิฆเนศ 4 กร สีนาค นั่งบนบัลลังก์บัว   ในกรณีประทับใจสินค้า คะแนน Vote ปัจจุบัน 1712  vote ลดคะแนน ให้กับสินค้า พระพิฆเนศ 4 กร สีนาค นั่งบนบัลลังก์บัว พระพิฆเนศ 4 กร สีนาค นั่งบนบัลลังก์บัว   ในกรณีไม่ประทับใจสินค้า คะแนน Vote ปัจจุบัน 1712
คำอธิบาย พระพิฆเนศ 4 กร สีนาค นั่งบนบัลลังก์บัว
ราคา 259.00 บาท
รายละเอียด
ควรบูชาพระพิฆเนศวร์อย่างไร
การถวายของบูชาพระพิฆเนศวร์ นิยมถวายเป็นขนมหวานหรือผลไม้ และควรมีหลายอย่าง เพราะพระองค์โปรดการเสวยมาก ที่สำคัญห้ามถวายของคาวเป็นอันขาด
ขนมหวาน ขนมโมทกะ ขนมลฑฺฑู ขนมต้มขาว ขนมหม้อแกง (คนอินเดียไม่นิยม เพราะมีส่วนผสมของไข่) ขนมอะไรก็ได้ที่มีลักษณะกลม ฯลฯ
ผลไม้ มะพร้าว อ้อยควั่น กล้วย ทับทิม ผลไม้ตามฤดูกาล แต่ต้องเป็นผลไม้ที่พร้อมรับประทาน เช่น ถ้าเป็นกล้วยดิบยังรับประทานไม่ได้ ก็ไม่ควรนำมาถวาย แต่ถ้ามะม่วงดิบ รับประทานแบบดิบได้ก็ถวายได้ แต่ควรจะเป็นมะม่วงเขียวเสวย เพราะพระเคณศไม่นิยมทานรสเปรี้ยว จึงควรถวายผลไม้ที่มีรสหอมหวาน และห้ามถวายผลไม้ที่มีกลิ่นฉุน เช่น ทุเรียน จำปาดะ ฯลฯ
อื่น ๆ น้ำนมสด น้ำอ้อยสด น้ำแดง เนยใส น้ำผึ้ง นมเปรี้ยว (ลาซซี่ ) ข้าว ข้าวโพด ถั่ว งา ธัญพืช ฯลฯ
ดอกไม้ ดอกชบาแดง ดอกบัว ดอกดาวเรือง ดอกเบญจมาศขาว หรือดอกไม้อะไรก็ได้ที่มีสีสด แต่ห้ามถวายดอกเยอบีร่า
พืชที่สำคัญอีกอย่างที่ควรถวายคือ ‘หญ้าแพรก’ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์ และเชื่อกันว่าหญ้าแพรกสามารถขจัดสิ่งชั่วร้ายได้ การบูชาพระพิฆเนศวร์ตามตำราเดิมจากอินเดียจะต้องประกอบด้วยใบไม้และดอกไม้ถึง ๒๑ ชนิด ซึ่งส่วนใหญ่หาไม่ได้ในเมืองไทย เพราะฉะนั้นก็ถวายเท่าที่พอจะหาได้
ธูปหอม ตามตำราโบราณไม่ได้กำหนดว่าจะต้องถวายธูปกี่ดอก เพราะสมัยก่อนใช้กำยานเผาบูชาเพื่อให้เกิดกลิ่นหอม และเนื่องจากธูปอินเดียมีกลิ่นหอมรุนแรงมาก จุดเพียงดอกเดียวก็เพียงพอแล้ว แต่ประเพณีไทยถือเรื่องการจุดธูปดอกเดียว ดังนั้นจึงระบุให้จุดอย่างต่ำ ๓ ดอก
ธูป ๓ ดอก (คติพุทธ) ไหว้พระรัตนตรัย (คติฮินดู) ไหว้พระตรีมูรติ
ธูป ๕ ดอก (คติพุทธ) ไหว้พระรัตนตรัย บิดามารดร ครูอาจารย์ (คติฮินดู) ไหว้เทพประธานทั้งห้า : พระศิวะ พระวิษณุ พระแม่อุมา พระคเณศ และสุริยเทพ
ธูป ๘ ดอก(คติฮินดู) ไหว้มหาเทพและเทวีทั้ง ๘ : พระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม พระแม่อุมา พระแม่ลักษมี พระแม่สรัสวตี พระคเณศ พระสกัณท์ (พระขันธกุมาร)
ธูป ๙ ดอกคนไทยนิยมใช้ในการไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ถือเคล็ดว่า ๙ เป็นมงคล
ธูป ๑๖ ดอกใช้ไหว้พระพรหมใช้บวงสรวงบูชาเทพที่สำคัญต่าง ๆ หมายถึง ๑๖ ชั้นฟ้า
สิ่งที่สำคัญอีกอย่างคือ การบูชาไฟ ทางฮินดูถือว่าเป็นเรื่องสำคัญมาก ถ้าจะทำแบบง่าย ๆ ก็คือ จุดกำยาน ประทีบ และน้ำมันหอมระเหยถวายส่วนกลิ่นของธูป กำยาน ฯลฯ จะเป็นกลิ่นดอกบัว กลิ่นกุหลาบ หรือกลิ่นหอมอะไรก็ได้

คาถาบูชาพระพิฆเนศวร์

โอมนะโม             พระคเณศายะ

นะโมนะมะ             คันธะมาละ

สิทธาหะนัม            กะพะมะนะ

สัมมาอะระหัง              วันทามิ

สัมมาอะระหัง               วันทามิ

สัมมาอะระหัง               วันทามิ

หรือจะท่องคาถาอย่างย่อคือ   “โอมศรีคเณศายะนะมะฮา”

พิธีกรรมและวันสำคัญในการบูชาพระพิฆเนศวร์ประจำปีที่ยึดถือกันคือ วันแรม 4 ค่ำ เดือน 9 และ แรม 4 ค่ำ เดือน 10  ส่วนแต่ละเดือนก็บูชาวันขึ้นหรือแรม 4 ค่ำ เดือนละ 2 ครั้ง

ปรับปรุงเมื่อ 2010-09-14 09:59:41 110.164.156.**
สินค้าแนะนำ
พระพิฆเนศ4กร สีนาค นั่งบนบริวาร (หนู)
พระพิฆเนศ4กร สีนาค นั่งบนบริวาร (หนู)
หลวงปู่ทวดทวด
หลวงปู่ทวดทวด
พระพิฆเนศทรงยืนทอง 4กร
พระพิฆเนศทรงยืนทอง 4กร
พระพิฆเนศ (ทรงบังลังค์ทอง)
พระพิฆเนศ (ทรงบังลังค์ทอง)
พระพิฆเนศปางประทานพร
พระพิฆเนศปางประทานพร
โกยเงินโกยทอง
โกยเงินโกยทอง
พระพิฆเนศ 4 กร สีนาค นั่งบนบัลลังก์บัว
พระพิฆเนศ 4 กร สีนาค นั่งบนบัลลังก์บัว
พระแม่ศรีมหาลักษมี
พระแม่ศรีมหาลักษมี
พระพิฆเนศ (ทรงประทับทอง)
พระพิฆเนศ (ทรงประทับทอง)
หลวงปู่ทวด
หลวงปู่ทวด
หลวงพ่อโสธร
หลวงพ่อโสธร
ชูชก
ชูชก
หน้าร้าน http://www.meemarket.com/16472
   
  สนใจติดต่อ

ใส่ตะกร้า คลิ๊กเลย!!! ติดต่อร้าน คลิ๊กเลย!!! ไปที่หน้าหลักของร้านนี้ คลิ๊ก!!! ย้อนกลับก่อนหน้า!!! แจ้งสินค้าผิดกฏหมาย หรือ กฏการใช้งานของ meemarket.com!!!




ความเห็น

ความเห็น :
ชื่อ
email
ซ่อน E-Mail
รหัสภาพ
สมัครสมาชิก Click ที่นี่ | เข้าสู่ระบบ Click ที่นี่
   
 
 
User :
Pass :
ลืมรหัสผ่าน

 
 
 
© Copyright 2010 WWW.MEEMARKET.COM All Rights Reserved.