ฟรี ร้านค้า ออนไลน์ ads 3.85.211.2 : 29-03-24 0:43:05   
สมัครสมาชิกใช้งานติดต่อโฆษณาสินค้าแยกตามหมวดร้านค้าสมาชิกกระดานสนทนากระดานสนทนา
  หมวดสินค้าของเรา            
  
 
Notebook
Piano & Keyboard
กระเป๋า
กล้องถ่ายรูป
กวดวิชา ติวเตอร์ ฝึกอบรม
การเกษตร
การเงิน&บัญชี
กีต้าร์ กลอง เครื่องดนตรี
ก่อสร้าง
ของที่ระลึกจากภาพยนตร์
ความงามและสุขภาพ
คอมพิวเตอร์
งานประดิษฐ์
จักรยาน&จักรยานยนต์
ตกแต่ง ซ่อมแซม
ตั๋ว&บัตร
ตุ๊กตา&ของเล่น
ที่ดิน
ที่พัก โรงแรม รีสอร์ท
ท่องเที่ยว
ธนบัตร&เหรียญ ของสะสม
นวนิยาย
บริการถ่ายภาพ
บ้าน
บ้านและสวน
ประกันภัย&ประกันชีวิต
พระ
รถยนต์ ประดับยนต์
วัตถุมงคล
สัตว์เลี้ยง
สำนักงาน
สินค้า หรือ บริการทั่วไป
หนังสือ
หนังสือการ์ตูน
หนังสือคอมฯ
หนังสือออกใหม่
ห้องซ้อมดนตรี
ห้องพัก หอพัก
อาคารชุด
อาคารพานิชย์
อินเตอร์เนต
อุปกรณ์ เครื่องเขียน แบบเรียน
อุปกรณ์กีฬา
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์และของใช้ในบ้าน
เกมส์
เครื่องถ่ายเอกสาร
เครื่องประดับ
เครื่องเสียงรถยนต์
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย
เสื้อผ้าแฟชั่น และอื่นๆ
โชว์ การแสดง
โทรศัพท์&อุปกรณ์เสริม
โทรสาร
โน๊ตเพลง

แผลกดทับ สาเหตุและวิธีป้องกันแผลกดทับ  

แผลกดทับ สาเหตุและวิธีป้องกันแผลกดทับ
 

อาการแผลกดทับเป็นอย่างไร                         

                             ระดับอาการของแผล

       แผลกดทับ คือ บริเวณเนื้อเยื่อหรือเซลล์ที่มีการตายเนื่องจากขาดเลือด ไปเลี้ยงจากการถูกกดทับเป็นเวลานาน สำหรับส่วนที่พบแผลกดทับบ่อย คือ บริเวณเนื้อเยื่อหรือปุ่มกระดูก ที่พบส่วนมากคือบริเวณปุ่มกระดูกก้นกบ  ตาตุ่ม และส้นเท้า เพราะโดยปกติทั่วไปเราจะชอบนอนหงายแต่ที่มากที่สุด คือ บริเวณก้นกบสะโพก ต่อมาก็บริเวณสะบักทั้ง 2 ข้าง ส้นเท้าทั้ง 2 ข้างและบริเวณท้ายทอย สำหรับแผลที่เกิดกับผู้ที่นอนหงายแต่สำหรับผู้ที่นอนตะแคง  แผลกดทับที่เกิด คือ บริเวณด้านข้างของศีรษะ ปุ่มกระดูก  บริเวณหัวไหล่    บริเวณข้อศอก ต้นขา ข้างเข่าด้านนอกและ ตาตุ่ม

     อีกสิ่งหนึ่ง คือ ผู้ที่เป็นเบาหวาน ไทรอยด์ หรือมีการบวมซึ่งจะขัดขวาง  การไหลเวียนเลือด อาหารที่ไปเลี้ยงเซลล์ต่างๆ เมื่อสารอาหารและ  ออกซิเจน  น้อยลงก็จะเกิดส่วนที่เป็นแผลกดทับได้ โดยเฉพาะผู้ที่มีภาวะ  โลหิตจางก็ควร  ระวัง สำหรับผู้สูงอายุที่มีปัญหาเกี่ยวกับด้านโภชนาการไม่ดี  ในผู้สูงอายุย่อม  ส่งผลด้วยเช่นเดียวกัน  เมื่อผู้ป่วยสูงอายุหรือผู้ที่มีอาการ  ป่วยเรื้อรังทาน  อาหารได้น้อยลง ได้รับสาอาหารที่น้อยลงตามมา เพราะ  ฉะนั้นความต้านทาน  ของเนื้อเยื่อก็มีน้อยลง ยิ่งถ้าเกิดแผลกดทับแล้วก็จะ  หายยาก

 สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดแผลกดทับ

    สาเหตุที่ทำให้เกิดแผลกดทับและปัจจัยเสริม เป็นเรื่องของ อายุของคนไข้ที่เพิ่มสูงขึ้นผิวหนังจะบางลง เพราะชั้นใต้ผิวหนังไขมันลดลง ความยืดหยุ่นน้อยลง เมื่ออายุเพิ่มขึ้นทำให้แรงถดถอยลง การเคลื่อนไหวที่น้อยลงเพราะผู้สูงอายุบางท่านก็นอนไม่เปลี่ยนท่าก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่งคือการมีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน หรือ ไทรอยด์ก็เป็นอีกสาเหตุที่ส่งเสริม ถ้ามีการจำกัดการเคลื่อนไหว อย่างเช่น ผู้ที่บาดเจ็บจากอุบัติเหตุสาหัส กระดูกหัก ดึงถ่วงน้ำหนักไว้หรือมีการผ่าตัด สามารถเกิดแผลกดทับได้ง่าย
 
     สำหรับบางรายที่มีการทานอาหารน้อยลงได้สารอาหารไม่ครบทำให้เนื้อเยื่ออ่อนแอทำให้แผลที่เกิดขึ้นหายยาก และสำหรับรายที่มีอาการบวมจะเกิดการขัดขวางการลำเลียงอาหารและออกซิเจนไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ และผู้ที่มีภาวะโลหิตจางเกิดจากการขาดตัวนำออกซิเจนและสารอาหารไปเลี้ยงเซลล์ก็สังผลให้เกิดแผลกดทับได้ ซึ่งปัจจัยส่วนใหญ่มาจากตัวผู้ป่วยที่เกิดจากภายในร่างกาย แต่กรณีจากภายนอกที่ส่งเสริม เกิดจากแรงเสียดทาน การลื่นไถล หรือมีแรงกดโดยตรงบริเวณปุ่มกระดูกก็เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดแผลกดทับ 

 

 

 

แรงกดทับในการนอน

 
     

 การป้องกันการเกิดแผลกดทับ                                                      

ที่นอนลมแบบลอน ที่นอนลมแบบรังผึ้ง
 
 การป้องกันที่สามารถทำได้ คือ ลดแรงกดที่บริเวณปุ่มกระดูก ซึ่งทำได้ 2 วิธี
 
 
1. การพลิกตะแคงตัว
    เมื่อนอนเราหงายเกิน 2 ชั่วโมง เนื้อเยื่อจะเริ่มขาดเลือดไปเลี้ยง จึงควรจะเปลี่ยนท่าไปเป็นการนอนพลิกตะแคง  แต่การพลิกตัวช้าหรือเร็วก็ขึ้นอยู่กับน้ำหนักตัวของผู้ป่วยและสภาพของที่นอน
 
2. ใช้อุปกรณ์เสริม  
    เป็นวิธีที่สะดวกสำหรับผู้ป่วย และผู้ดูแล เพราะที่นอนลมมีการไหลวนของอากาศภายในที่นอน ช่วยให้การไหลเวียนของเลือดดีขึ้น ซึ่งเป็น อีกวิธีหนึ่งที่สามารถป้องกันการเกิดแผลกดทับได้อย่างดีเยี่ยม
    
  -ที่มา : http://health.dmc.tv  
   
   
 


Article write by : ikookiz Visit website
Visit website
จำหน่ายอุปกรณ์ดูแลผู้ป่วย : วิธีการเลือกซื้อเตียงผู้ป่วย, วิธีการเลือกซื้อเครื่องผลิตออกซิเจน, เตียงผู้ป่วย, ออกซิเจน สำหรับผู้ป่วย, เครื่องปั่นเลือด, เครื่องดูดเสมหะ



อุปกรณ์การแพทย์ สำหรับโรงพยาบาล คลีนิค : เครื่องปั่นฮีมาโตคริต, เครื่องวัดสัญญาณชีพ, เครื่องดูดของเหลว, เตียงโรงพยาบาล, เตียงผ่าตัด เตียงทำคลอด, โคมไฟผ่าตัด, เครื่องช่วยหายใจ, เครื่องชั่งน้ำหนัก, หัวเกจ์ออกซิเจน

=



พอลลี่เฮลท์แคร์ : เตียงไฟฟ้า เตียงปรับมือ เครื่องผลิตออกซิเจน เครื่องดูดเสมหะ ที่นอนลม รถเข็นนั่ง



อโรคาพลัส | เตียงผู้ป่วย เครื่องผลิตออกซิเจนบ เช่าเตียงไฟฟ้า เช่าเครื่องผลิตออกซิเจน เตียงผู้ป่วยมือสอง เครื่องผลิตออกซิเจนมือสอง ออกซิเจน บริการเครื่องปั่นฮีมาโตคริตเครื่องรักษาอาการนอนกรน รับซ่อมเครื่องผลิตออกซิเจน



ให้คำปรึกษาปัญหานอนกรน : อาการนอนกรน ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ, เครื่องช่วยหายใจแรงดัน 2 ระดับ, หน้ากากแบบครอบจมูก, หน้ากากแบบเต็มหน้า, เครื่อง CPAP ยี่ห้อไหนดี, ราคาเครื่องช่วยหายใจ, เช่าเครื่อง CPAP, อุปกรณ์เสริมเครื่องนอนกรน


 
แสดงความเห็นต่อบทความนี้
User :
Pass :
ลืมรหัสผ่าน

 
 
 
© Copyright 2010 WWW.MEEMARKET.COM All Rights Reserved.